วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2562

ศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ 
งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ 
IMPACT Challenger Muang Thong Thani    Hall 6-12 

วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2562 
เวลา 13.30-17.30 

นิทรรศการประกอบด้วย
1. พระอัจฉริยภาพ “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย” และพระอัจฉริยภาพพระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย และพระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย 
นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระบรมวงศานุวงศ์
2. นิทรรศการกลาง
นำเสนอประเด็นด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่กำลังอยู่ในความสนใจของประชาชน หรือมีความสำคัญ มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการพัฒนาประเทศในอนาคต 
ซึ่งควรสร้างความตระหนักให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนและเยาวชน โดยในปี 2562 มีนิทรรศการพิเศษ อาทิ
- นิทรรศการสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับเรื่องพลาสติก
- นิทรรศการปีแห่งตารางธาตุสากล
- นิทรรศการนิทรรศการมหัศจรรย์แห่งวิทยาศาสตร์เรื่อง Nikola Tesla ยอดนักวิทย์ผู้คิดเปลี่ยนโลก
- นิทรรศการ ๕๐ ปี Moon landing 
- นิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ
- นิทรรศการข้าว
- นิทรรศการพื้นที่นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ สู่ผลงานสิ่งประดิษฐ์ Engineering space
3. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในแนวทางสะเต็มศึกษา
- กิจกรรมห้องทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับครอบครัวและเยาวชน
- กิจกรรมลานประกวดแข่งขัน เครื่องบินกระดาษพับ
- กิจกรรมลานปลูกฝังปัญญาเยาว์ สำหรับพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของเด็กก่อนวัยเรียน
ในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
- ห้องฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์
- การแสดงทางวิทยาศาสตร์
- การประกวดแข่งขันตอบปัญหา มอบรางวัล
4. นิทรรศการศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
- แสดงผลงานความก้าวหน้าด้านการวิจัย การประดิษฐ์คิดค้น นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในกิจการด้านต่าง ๆ 
ของประเทศ จัดแสดงโดยหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ในประเทศไทย จากสถาบันวิจัย สมาคม สถาบันการศึกษา และกระทรวง ทบวง กรม
- ผลงานวิจัยของหน่วยงานวิจัยของกระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงกลาโหม และอื่นๆ
- โครงการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยคลินิกเทคโนโลยีของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และมหาวิทยาลัยเครือข่าย
- ผลงานชนะเลิศเครื่องจักร เครื่องยนต์ และนวัตกรรมจากการประกวดเทคโนโลยีของไทย
- ผลงานดีเด่นด้านวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน นักศึกษา นักวิจัย
- การเชิดชูเกียรติผู้บำเพ็ญประโยชน์ในสาขาวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับรางวัลพระราชทานประจำปี รวมทั้งผู้เป็นบุคคลตัวอย่างด้านวิทยาศาสตร์ เช่น นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ครูวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นต้น
5. การประชุม สัมมนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี 
ประกอบด้วยการประชุมระดับชาติและระดับนานาชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 
เพื่อการพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ของประเทศและภูมิภาค


ไปถึง ก็ได้รับแสตมป์ ก่อนเข้างาน ดิฉันและเพื่อนๆ ได้เดินดูแต่ละบูทส์ บูทส์แรกที่เข้าคือ เรื่อง ตารางธาตุ  ได้ทำศิลปะเกี่ยวเรื่อง กรด เบส  เล่นเกมบิงโกที่เกี่ยวกับตารางธาตุ คุณสมบัติของธาตุ 


รูปภาพตอนทำกิจกรรม  ได้รางวัลเป็นกระเป๋าผ้า 



จากนั้นก็เดินไปที่โรงนา 
เขาจำลองการปลูกข้าว มีเครื่องสีข้าว สมัยใหม่ และสมัยเก่า ได้เข้าไปร่วมกิจกรรม เล่นเกมส์ และ จำลองการไถนา 

รูปภาพกิจกรรม 


ต่อมาก็ได้ไปเล่นเกมประเภท Virtual Reality แนวซิมูเลชั่นจำลองสถานการณ์ส่วนมากก็จะให้ผู้เล่นได้สวมบทบาทให้ทำตามคำสั่งที่ตัวเกมบอกเอาไว้อย่างเช่นจำลองการทำอาหารหรือจำลองเป็นพนักงานออฟฟิศแต่เกม VR ที่จะนำเสนอต่อไปนี้จะมาในอีกรูปแบบที่คล้าย ๆ กันแต่น่าสนใจกว่าเพราะว่าเป็นเกม VR ที่จะให้คุณทำไก่ทอด KFC ของผู้พันแซนเดอส์ในตำนาน

รูปภาพประกอบ ตอนเล่นเกมส์ 

ก่อนกลับได้เข้าไปเล่น บูทส์ MOON WALK SIMULATION จำลองการเดินบนดวงจันทร์ 
 โดยข้อมูลบอกไว้ว่า แรงโน้มถ่วงบนดวงจันทร์ไม่เท่ากับโลก การเดินบนดวงจันทรืจะต้องแบกรับน้ำหนักของตัวเองน้อยกว่าปกติ 

รูปภาพประกอบ 


สรุปการไปทำกิจกรรม 
ได้รับความรู้อย่างหลากหลายเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่สามารถนำมาสอนเด็กปฐมวัยได้ด้วย เป็นการไปทำกิจกรรมที่ดีและสนุกได้ความรู้เป้นอย่างมาก อยากทำอีกหลายอย่างแต่เวลามีน้อยเลยเดินชมได้ไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร และได้ไปเดินชมแต่ไม่ได้เก็บภาพไว้ ดิฉันได้ประสบการณ์อย่างหลากหลาย และถ้ามีโอกาสก็อยากจะไปอีก 

การเดินทาง นั่งรถแท็กซี่ไป ราคา 145 บาท หาร 4 คน 









บันทึกการเรียน ครั้ง 3 

วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2562
อาจารย์ผู้สอน ดร. จินตนา สุขสำราญ
ห้องเรียน 34-301 เวลาเรียน 08.30-12.30


วันนี้อาจารย์ได้ให้ทั้งสองเซ็คมาเรียนรวมกัน เนื่องจาก สัปดาห์หน้า อาจารย์ติดธุระ จะได้ไม่เป็นการเสียเวลาเรียน 

ต่อเนื่องจากคาบที่แล้ว ของเล่นวิทยาศาสตร์จากน้ำ💦💧(เดี่ยว) ที่อาจารย์สั่งงาน ให้นักศึกษาไปหา ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องน้ำ กลุ่มของดิฉัน ได้หาข้อมูล และหาสื่อการสอน วิธีทำ มาดังนี้ 


❤️หัวข้อที่1 แหล่งที่มา
1.1มาจากธรรมชาติ
-ฝน
-น้ำตก
-ลำธาร
-มหาสมุทร
-ทะเล
-บึง
1.2มนุษย์สร้างขึ้น
-อ่างเก็บน้ำ
-เขื่อน
-คลอง
-สระว่ายน้ำ

❤️หัวข้อที่2 ลักษณะ
2.1 คุณสมบัติ
-ระเหย เปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอน้ำ
-เปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง เช่น น้ำแข็ง
-มีแรงตึงผิว
-ตกจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
-เปลี่ยนรูปร่างได้ตามภาชนะที่บรรจุ
-มีจุดเดือด
2.2 สถานะ
-เป็นของเหลว

❤️หัวข้อที่3 ประโยชน์
3.1ใช้เพื่อการอุปโภค
-ใช้ในการเกษตร
-ใช้ขนส่งทางเรือ
-ใช้ในการท่องเที่ยว
-ใช้ในอุตสาหกรรม
-ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
3.2ใช้เพื่อการบริโภค
-ใช้เพื่อดื่ม
-ใช้ในการประกอบอาหาร
3.3เป็นส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิต
-พืช
-สัตว์

❤️หัวข้อที่4 โทษ
4.1เป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและเชื้อโรค
4.2น้ำที่ไม่บริสุทธิ์เช่น โค้ก กินมากๆจะทำให้เกิดโรคต่างๆ

❤️หัวข้อที่5 การดูแลรักษา
5.1ไม่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำ
5.2ใช้อย่างประหยัด
5.3ปลูกพืชเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ


ของเล่นวิทยาศาสตร์จากน้ำ💦💧










อาจารย์ให้นั่งเป็นกลุ่ม เพื่อช่วยกันหาข้อมูล


นักศึกษาทุกคนช่วยกันหา ข้อมูล


อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำข้อมูล ไปลงในเว็บ



คำศัพท์ 
1. Toys from science   ของเล่นจากวิทยาสาสตร์ 
2. Working group        การทำงานรวมกลุ่ม
3. Information             ข้อมุล
4. Method                    วิธีทำ 
5. Art                           ศิลปะ


การประเมิน 
อาจารย์  สอนและให้ความรู้ได้มาก และเดินดูนักศึกษาหาข้อมูลอย่างทั่วถึง ให้คำปรีกษาในการหาข้อมูลได้เป้นอย่างดี

เพื่อน   ตั้งใจหาข้อมูล ที่อาจารย์บอก และให้ความร่วมมือกับเพื่อนและอาจารย์

ตนเอง  ช่วยเพื่อนหาข้อมูล ตั้งใจฟังอาจารย์ 



ผู้บันทึก 
นางสาวณัฏฐา กล้าการนา 
6011200497
การศึกษาปฐมวัย 




วันพุธที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2 


วันที่ พุธ ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2562
อาจารย์ผู้สอน  ดร.จิตนา สุขสำราญ
ห้องเรียน 34-301  เวลาเรียน 08.30-12.30

เข้าคลาสเรียนอาจารย์ให้สแกนคิวอาร์โค้ด เพื่อที่จะทำงานส่งในคาบ เป็นการทำงานในเว็บ เป็นการทำงานส่งในแบบใหม่ที่ไม่เคยทำ
วันนี้เรียนเรื่อง
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมให้กับเด็ก ให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัยของเด็ก การจัดกิจกรรมใหกับเด็กต้องมีวิธีการ เพื่อที่จะได้เกิดการเรียนรู้
ได้เรียนถึงการทำงานของสมองเป็นแบบขั้นตอน พูดถึงนักทฤษฏี ที่เกี่ยวกับสติปัญญา ได้เรียนถึงขั้นทฤษฏี ขั้นอนุรักษ์  วิธีการเรียนรู้ของเด็กต้องเรียนรู้จาก ง่ายไปหายาก เพิ่มความซับซ้อนขึ้น ในกิจกรรมที่ให้เด็กทำ เราต้องมีสื่อเพื่อทำให้เด็กสนใจกิจกรรม โดยการนำสื่อ เพลง เข้ามาร่วมกับกิจกรรม อาจารย์ได้สั่งงานให้ทำก่อนหมดคาบ ให้ไปห้องสมุดไป สมัคร Thinkling เพื่อทำงานส่งในเว็บ และต้องไปหาข้อมูลที่ห้องสมุด เพื่อนำข้อมูลทั้งหมดมาใส่ใน มายแมปปิ้ง



คำศัพท์ 
1 Theorist    นักทฤษฎี
2 Activities  กิจกรรม
3 Development   พัฒนาการ
4 Think          การคิด
5 Learning   การเรียนรู้

การประเมิน วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.2562
อาจารย์ พูดในเรื่องเน้อหาได้ละเอียด และเข้าใจได้ง่าย
ตนเอง ตั้งใจฟัง และตั้งใจทำงานที่อาจารย์หมอบหมาย
เพื่อน ตั้งใจฟังและตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมาย


ผู้บันทึก
นางสาวณัฏฐา กล้าการนา 
6011200497 เลขที่ 16 
การศึกษาปฐมวัย 



บันทึกการเรียนครั้งที่ 1
วันที่ พุธ ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2562
อาจารย์ผู้สอน  ดร.จิตนา สุขสำราญ
ห้องเรียน 34-301  เวลาเรียน 08.30-12.30

       
         อธิบายเนื้อหาและรายวิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  ว่าต้องทำอะไรบ้างในเทอมนี้ และ บอกข้อตกลงในการทำงาน ทำบล็อค 
         
ในบล็อค ต้องเชื่อมโยงบล็อคอาจารย์ผู้สอน 
- หน่วยงานสนับสนุน 
- แนวการสอน 
- งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ 
- บทความ 
- สื่อ ( เพลง เกม นิทาน แบบฝึกหัด ของเล่น )
ข้อมูลต้องครบ 

คำศัพท์ 
1  Research    งานวิจัย
2 Media         สื่อ
3 Tale            นิทาน
4 Music         เพลง
5 Science      วิทยาศาสตร์


การประเมิน ประจำวันพุธ ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2562

อาจารย์ เข้าตรงเวลา บอกรายละเอียดได้ชัดเจน 
ตนเอง   ตั้งใจฟังรายละเอียดของวิชา 
เพื่อน     มาเข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์ 

ผู้บันทึก 
นางสาวณัฏฐา  กล้าการนา 
6011200497  เลขที่ 16
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย


รุปบทความ



         เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของเด็กปฐมวัย “เทคนิคการเลือกและเล่านิทานให้ลูกรัก” กิจกรรมที่แสนจะอบอุ่นในชั้นเรียนและในครอบครัว

         ในการอบรมครั้งนี้ ครูได้พบตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์โดยใช้นิทานเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยจะได้เรียนรู้จักเชื่อมโยงจินตนาการจากนิทานสู่การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ นิทานเป็นสื่อที่เราเห็นทั่วไป เป็นสื่อการเรียนรู้ที่หาง่าย ส่วนใหญ่นำเอามาเล่าให้เด็กฟังเพื่อความเพลิดเพลินแล้วก็จบไป แต่ที่จริงแล้วนิทานเป็นสื่อที่ดี ช่วยให้เด็ก ๆ เรียนรู้ได้หลากหลาย ที่เห็นชัดเจน คือ เรื่องของภาษา คำพูด เสียง ยิ่งนิทานที่มีคำซ้ำ ๆ เด็กจะฟังและเลียนแบบคำได้ ยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่าง ๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผล ยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่าง ๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผล 

อ่านต่อได้ที่ : https://www.ryt9.com/s/prg/1167451?fbclid=IwAR1BByrA6U6qnJVub3kWJNxnkPReBBkpOT70YKOv1HtMRot_q1ukJH1IS7Y


รุวิจั
ชื่อเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่องแสง ที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย

ชื่อผู้วิจัย 
พัชรา อยู่สมบุรณ์
ปีที่พิมพ์/ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ พฤษ๋พาคม พ.ศ.2553


จุดมุ่งหมาย
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย ที่ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง ก่อนและหลังการทดลอง

ตัวแปรที่ศึกษา 
1.ตัวแปรอิสระ ได้แก่ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่องแสง 
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการแสวงหาความรู้ 

คำนิยามศัพท์ 
1.เด็กปฐมวัย หมายถึง นักเรียนชาย-หญิงอายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระหว่างชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2552 โรงเรียนวัด ศาลาครืน 
กรุงเทพมหานคร สังกัดกรุงเทะมหานคร
2. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่องแสง หมายถึงกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กเข้าใจเนื้อหากิจกรรมที่ใช้สาระการเรียนนรู้ เรื่อง แสง เด็กได้ใช้ความคิดและสัมผัสสื่อที่หลากหลาย โดยการปฏิบัติจริง

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 
เด็กนักเรียนชาย-หญิง ที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระหว่างชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552

วิธีรวลบรวมข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยดำเนินการศึกษาตามหัวข้อดังนี้
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.เครื่องมือในการวิจัย
3.การดำเนินการทดลอง 
4.การวิเคราะห์ข้อมูล
5.สถิติที่มช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการในภาคเรียนที่ . ปีการศึกษา 2552 เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 3 นาที รวม 24 วัน โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้ 
1.ใช้ผลคะแนนจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้ ในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ 

ตัวอย่างแผน